Relative Clauses แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ
1. Defining Relative Clause ซึ่งมีลักษณะที่สำคัญ ดังนี้
a) ทำหน้าที่คล้าย adjective เพื่อบอกลักษณะหรือขยาย noun ซึ่งอยู่ข้างหน้าเพื่อให้ได้ใจความสมบูรณ์ และชัดเจนว่าเป็นคนไหน อะไร ของใคร เป็นต้น
b) ไม่มีเครื่องหมาย comma อยู่ระหว่า noun กับ relative clause เช่น
The man came here yesterday. ในประโยคนี้ เราจะไม่ทราบว่าผู้ชายคนไหน
ที่มาเมื่อวานนี้ แต่ถ้าเราเติม relative clause ว่า
The man who works in your office came here yesterday.
ผู้ฟังจะเข้าใจแจ่มแจ้งทันทีว่าหมายถึงใคร
The house that stands at the end of the street is very old.
(ในประโยคข้อความสีแดง เป็น relative clause (ประโยคย่อย) ที่บอกให้เราทราบว่า
หมายถึงบ้านหลังไหน ถ้าเราเอา relative clause ในประโยคนี้ออกเสีย ข้อความในประโยคจะไม่ชัดเจน )
2. Non-defining relative Clause ได้แก่ clause ซึ่งมีลักษณะที่สำคัญ ดังนี้
a) ไม่มีความจำเป็นแก่ใจความในประโยค เพียงแต่เพิ่มเข้ามาเพื่อให้ได้ความละเอียดมากขึ้น
จากสิ่งซึ่งทราบแล้ว
b) ต้องมีเครื่องหมาย comma ข้างหน้าเสมอ
c) ต้องไม่ใช้ relative pronouns ซึ่งไม่ชี้เฉพาะเจาะจง เช่น who หรือ which จะใช้ that ไม่ได้เลย
เช่น James Smith , who lives next door , came here yesterday.
(ในประโยคข้างต้น relative clause "who lives next door" ไม่มีความจำเป็นเลย
เพราะเอ่ยชื่อ James Smith เราก็ทราบแล้วว่าคือใคร
ประโยคที่ซับซ้อน (Complex sentences) ประกอบด้วยประโยคย่อย (clause) อย่างน้อย 2 ประโยค แต่ละประโยคย่อยจะประกอบด้วยองค์ประกอบหลักของประโยคโดยทั่วไปอย่างน้อย 2 ส่วน ได้แก่ประธาน (subject) และกริยา (verb)
Relative clause คือประโยคย่อยที่ขยายความ หรือระบุให้แน่ชัดว่าคำนามที่กล่าวนั้นหมายถึงคนใด สิ่งใด Relative Clause จะตามหลัง Relative Pronoun ได้แก่
who ใช้กับคน
that ใช้กับทั้งคนและไม่ใช่คน
which ใช้กับสิ่งที่ไม่ใช่คน
that ใช้กับทั้งคนและไม่ใช่คน
which ใช้กับสิ่งที่ไม่ใช่คน
I met a man. He can speak five languages. (2 ประโยค)
I met a man who can speak five languages. (รวมทั้ง 2 ประโยค เป็น 1 ประโยค)
|-main clause-|-------relative clause-------|
I met a man who can speak five languages. (รวมทั้ง 2 ประโยค เป็น 1 ประโยค)
|-main clause-|-------relative clause-------|
Somsak is wearing a hat. It was too big for him.
Somsak is wearing a hat which was too big for him.
|------main clause-------|-------relative clause-------|
Somsak is wearing a hat which was too big for him.
|------main clause-------|-------relative clause-------|
I met a man that can speak five languages.
Somsak is wearing a hat that was too big for him.
Somsak is wearing a hat that was too big for him.
ถ้ากล่าวถึงกรรม (object) สามารถละ Relative pronoun ได้ เช่นYou are wearing shoes. I like them.
I like the shoes (which/that) you are wearing.
I like the shoes (which/that) you are wearing.
Liza is dancing with a man. I don't know him.
I don't know the man (who/that) Liza is dancing with.
I don't know the man (who/that) Liza is dancing with.
ข้อสังเกต ให้คง preposition ที่ใช้คู่กับกริยาไว้ด้วย ในที่นี้ได้แก่ dancing withตัวอย่างอื่น ๆ เช่น live in, talk to, look for เป็นต้น
http://www.e4y.ob.tc/e_learning/relative/relative.htm
Relative Clauses
Relative clause คือประโยคย่อยที่ขยายความ หรือระบุให้แน่ชัดว่าคำนามที่กล่าวนั้นหมายถึงคนใด สิ่งใด Relative Clause จะตามหลัง Relative Pronoun แบ่งออกเป็นสองประเภทคือ
Relative clause คือประโยคย่อยที่ขยายความ หรือระบุให้แน่ชัดว่าคำนามที่กล่าวนั้นหมายถึงคนใด สิ่งใด Relative Clause จะตามหลัง Relative Pronoun แบ่งออกเป็นสองประเภทคือ
Defining Relative Clauses
คือข้อความที่ทำหน้าที่คล้ายคำคุณศัพท์ (Adjectives) เพื่อไปขยายนามที่อยู่ข้างหน้าให้ได้ใจความสมบูรณ์และชัดเจนขึ้นว่า เป็นคนไหน สิ่งไหน ของใคร เป็นต้น หากไม่มี Defining Relative Clauses มาขยาย นามที่กล่าวถึงนั้นก็จะไม่เจาะจง จะเป็นการกล่าวขึ้นมาลอย ๆ ซึ่งอาจจะทำให้ผู้ฟัง เข้าใจได้ไม่กระจ่าง อาจจะต้องซักถามต่อไปอีกว่า เป็นใคร สิ่งไหน หรือของใคร
เช่น The man was killed. (ผู้ชายถูกฆ่า) จากประโยคนี้ ผู้ฟังจะไม่ทราบเลยว่าผู้ชายคนไหนที่ถูกฆ่าแต่ถ้าเพิ่ม Defining Relative Clause เข้าไปที่หลัง the man จะทำให้ความหมายชัดเจนยิ่งขึ้น
เพราะทำให้ทราบว่าเป็นผู้ชายคนไหน เช่นThe man who went to the party with Mary last night was killed.
(ผู้ชายคนที่ไปงานเลี้ยงกับ Mary เมื่อคืนนี้ถูกฆ่า)
คือข้อความที่ทำหน้าที่คล้ายคำคุณศัพท์ (Adjectives) เพื่อไปขยายนามที่อยู่ข้างหน้าให้ได้ใจความสมบูรณ์และชัดเจนขึ้นว่า เป็นคนไหน สิ่งไหน ของใคร เป็นต้น หากไม่มี Defining Relative Clauses มาขยาย นามที่กล่าวถึงนั้นก็จะไม่เจาะจง จะเป็นการกล่าวขึ้นมาลอย ๆ ซึ่งอาจจะทำให้ผู้ฟัง เข้าใจได้ไม่กระจ่าง อาจจะต้องซักถามต่อไปอีกว่า เป็นใคร สิ่งไหน หรือของใคร
เช่น The man was killed. (ผู้ชายถูกฆ่า) จากประโยคนี้ ผู้ฟังจะไม่ทราบเลยว่าผู้ชายคนไหนที่ถูกฆ่าแต่ถ้าเพิ่ม Defining Relative Clause เข้าไปที่หลัง the man จะทำให้ความหมายชัดเจนยิ่งขึ้น
เพราะทำให้ทราบว่าเป็นผู้ชายคนไหน เช่นThe man who went to the party with Mary last night was killed.
(ผู้ชายคนที่ไปงานเลี้ยงกับ Mary เมื่อคืนนี้ถูกฆ่า)
Defining Relative Clauses จะมีลักษณะดังนี้
1. ทำหน้าที่คล้ายคำคุณศัพท์ (Adjectives) เพื่อไปขยายนามที่อยู่ข้างหน้า
ให้ได้ใจความสมบูรณ์และชัดเจนขึ้นว่า หมายถึง คนไหน สิ่งไหน ของใคร เป็นต้น
2. ไม่มีเครื่องหมาย comma (,) คั่นระหว่างนามกับ Defining Relative Clauses
3. จะขึ้นต้นด้วยคำสรรพนาม (Pronouns) ดังนั้นคำสรรพนามที่ขึ้นต้น Defining Relative Clauses จึงเรียกว่า Relative Pronouns ซึ่งจะต้องสอดคล้องกับนามที่ขยาย เช่น ถ้า Defining Relative Clauses ขยายนามที่เป็นคน Relative Pronouns ก็ต้องเป็นคำที่ใช้แทนคน ฯลฯ
Relative Pronouns ที่ขึ้นต้น Defining Relative Clauses จะต้องสอดคล้องกับนามที่มันขยาย ซึ่งจะมีหน้าที่อยู่ 3 ประการหลัก คือ
1. ทำหน้าที่เป็นประธาน มี 2 แบบ ได้แก่
1.1 ถ้าเป็นคน ให้ใช้ who หรือ that แต่นิยมใช้ who มากกว่า เช่น
The man who is singing is Mr. White.
1. ทำหน้าที่คล้ายคำคุณศัพท์ (Adjectives) เพื่อไปขยายนามที่อยู่ข้างหน้า
ให้ได้ใจความสมบูรณ์และชัดเจนขึ้นว่า หมายถึง คนไหน สิ่งไหน ของใคร เป็นต้น
2. ไม่มีเครื่องหมาย comma (,) คั่นระหว่างนามกับ Defining Relative Clauses
3. จะขึ้นต้นด้วยคำสรรพนาม (Pronouns) ดังนั้นคำสรรพนามที่ขึ้นต้น Defining Relative Clauses จึงเรียกว่า Relative Pronouns ซึ่งจะต้องสอดคล้องกับนามที่ขยาย เช่น ถ้า Defining Relative Clauses ขยายนามที่เป็นคน Relative Pronouns ก็ต้องเป็นคำที่ใช้แทนคน ฯลฯ
Relative Pronouns ที่ขึ้นต้น Defining Relative Clauses จะต้องสอดคล้องกับนามที่มันขยาย ซึ่งจะมีหน้าที่อยู่ 3 ประการหลัก คือ
1. ทำหน้าที่เป็นประธาน มี 2 แบบ ได้แก่
1.1 ถ้าเป็นคน ให้ใช้ who หรือ that แต่นิยมใช้ who มากกว่า เช่น
The man who is singing is Mr. White.
(ผู้ชาย คนที่กำลังร้องเพลง คือ Mr. White)
(มาจาก The man is Mr. White. รวมกับ The man is singing.)
1.2 ถ้าเป็นสัตว์หรือสิ่งของ ให้ใช้ which หรือ that แต่นิยมใช้ which มากกว่า เช่น
The dog which is on the table is from America.
(สุนัข ตัวที่อยู่บนโต๊ะ มาจากอเมริกา)
(มาจาก The dog is from America. รวมกับ The dog is on the table.)
2. ทำหน้าที่เป็นกรรม มี 2 แบบ ได้แก่
2.1 ถ้าเป็นคน ให้ใช้ whom หรือ that แต่นิยมใช้ whom มากกว่า เช่น
The woman whom you saw yesterday is Mrs. White.
(ผู้หญิง คนที่คุณเห็นเมื่อวานนี้ คือ Mrs. White)
(มาจาก The woman is Mrs. White.รวมกับ You saw the woman yesterday.)
2.2 ถ้าเป็นสัตว์หรือสิ่งของ ให้ใช้ which หรือ that แต่นิยมใช้ which มากกว่า เช่น
I like the cat which Paul bought last week.
(ฉันชอบแมว ตัวที่ Paul ซื้อมาเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว)
(มาจาก I like the cat. รวมกับ Paul bought the cat last week.)ถ้า Relative Pronoun ทำหน้าที่เป็นกรรมของกริยาที่ตามมา เราสามารถตัด Relative Pronoun นั้นออกไปได้ เช่น
The woman whom you saw yesterday is Mrs. White.
whom เป็นกรรมของ saw ดังนั้นประโยคนี้ สามารถพูดได้อีกแบบหนึ่งว่า
The woman you saw yesterday is Mrs. White.
I like the cat which Paul bought last week.
Which เป็นกรรมของ bought ดังนั้นประโยคนี้ สามารถพูดได้อีกแบบหนึ่งว่า
I like the cat Paul bought last week.
3. ทำหน้าที่เป็นเจ้าของ มี 2 แบบ ได้แก่
3.1 ถ้าเจ้าของเป็นคน ให้ใช้ whose เช่น
The boy whose bicycle is red is Tom.
(เด็กผู้ชาย คนที่จักรยานของเขาสีแดง คือ Tom)
(มาจาก The boy is Tom. รวมกับ The boy's bicycle is red.)
3.2 ถ้าเจ้าของเป็นสัตว์หรือสิ่งของ ให้ใช้ of which เช่น
The dog of which the tail is long is Pong-Pong.
(สุนัข ตัวที่หางของมันยาว คือ Pong-Pong)
(มาจาก The dog is Pong-Pong. รวมกับ The tail of the dog is long.)
http://www.engtest.net/?section=elearning&&skill_id=5&&level_id=1&&topic_id=1598
(มาจาก The man is Mr. White. รวมกับ The man is singing.)
1.2 ถ้าเป็นสัตว์หรือสิ่งของ ให้ใช้ which หรือ that แต่นิยมใช้ which มากกว่า เช่น
The dog which is on the table is from America.
(สุนัข ตัวที่อยู่บนโต๊ะ มาจากอเมริกา)
(มาจาก The dog is from America. รวมกับ The dog is on the table.)
2. ทำหน้าที่เป็นกรรม มี 2 แบบ ได้แก่
2.1 ถ้าเป็นคน ให้ใช้ whom หรือ that แต่นิยมใช้ whom มากกว่า เช่น
The woman whom you saw yesterday is Mrs. White.
(ผู้หญิง คนที่คุณเห็นเมื่อวานนี้ คือ Mrs. White)
(มาจาก The woman is Mrs. White.รวมกับ You saw the woman yesterday.)
2.2 ถ้าเป็นสัตว์หรือสิ่งของ ให้ใช้ which หรือ that แต่นิยมใช้ which มากกว่า เช่น
I like the cat which Paul bought last week.
(ฉันชอบแมว ตัวที่ Paul ซื้อมาเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว)
(มาจาก I like the cat. รวมกับ Paul bought the cat last week.)ถ้า Relative Pronoun ทำหน้าที่เป็นกรรมของกริยาที่ตามมา เราสามารถตัด Relative Pronoun นั้นออกไปได้ เช่น
The woman whom you saw yesterday is Mrs. White.
whom เป็นกรรมของ saw ดังนั้นประโยคนี้ สามารถพูดได้อีกแบบหนึ่งว่า
The woman you saw yesterday is Mrs. White.
I like the cat which Paul bought last week.
Which เป็นกรรมของ bought ดังนั้นประโยคนี้ สามารถพูดได้อีกแบบหนึ่งว่า
I like the cat Paul bought last week.
3. ทำหน้าที่เป็นเจ้าของ มี 2 แบบ ได้แก่
3.1 ถ้าเจ้าของเป็นคน ให้ใช้ whose เช่น
The boy whose bicycle is red is Tom.
(เด็กผู้ชาย คนที่จักรยานของเขาสีแดง คือ Tom)
(มาจาก The boy is Tom. รวมกับ The boy's bicycle is red.)
3.2 ถ้าเจ้าของเป็นสัตว์หรือสิ่งของ ให้ใช้ of which เช่น
The dog of which the tail is long is Pong-Pong.
(สุนัข ตัวที่หางของมันยาว คือ Pong-Pong)
(มาจาก The dog is Pong-Pong. รวมกับ The tail of the dog is long.)
http://www.engtest.net/?section=elearning&&skill_id=5&&level_id=1&&topic_id=1598
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น